Warning: ftp_fget() expects parameter 1 to be resource, null given in /web/foreignlang/wp-admin/includes/class-wp-filesystem-ftpext.php on line 142

Warning: Cannot modify header information - headers already sent by (output started at /web/foreignlang/wp-admin/includes/class-wp-filesystem-ftpext.php:142) in /web/foreignlang/wp-content/plugins/post-views-counter/includes/counter.php on line 292
» รับสมัครนิสิตใหม่ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙[:en]Department of Foreign Language , Faculty of Humanities[:TH]ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์[:] Notice: Undefined variable: class in /web/foreignlang/wp-content/themes/school/header.php on line 17
class="post-template-default single single-post postid-297 single-format-standard tribe-no-js mega-menu-menu-1">
ประกาศ Department of Foreign Languages, Faculty of Humanities Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Share
  •  
  •  
  •  
  •  
  •  
  •  
  •  

[:en] 

ชัว ป.เอก

หลักสูตร ป.เอก สาขาภาษาศาสตร์  (พธ.ด.(ภาษาศาสตร์)
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เปิดรับสมัครนิสิตใหม่ ตั้งแต่วันนี้  ถึง ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ มีรายละเอียด ดังนี้

กำหนดการรับสมัคร

เปิดรับสมัคร     ตั้งแต่นี้  ถึง  ๒๒ ก.ค. ๒๕๕๙

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ   ๒๔ ก.ค. ๒๕๕๙

สอบข้อเขียน/สัมภาษณ์              ๓๐ ก.ค. ๒๕๕๙

ประกาศผลสอบ                         ๓๑ ก.ค. ๒๕๕๙

ปฐมนิเทศ / ลงทะเบียน                ๖ ส.ค. ๒๕๕๙

เปิดเรียน                                    ๗ ส.ค. ๒๕๕๙


รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรแบ่งเป็น ๒ แบบ คือ

๑.หลักสูตรแบบ ๑.๑ เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย

โดยนิสิตจะต้องทำวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ จำนวน ๕๔ หน่วยกิต

และศึกษาวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต จำนวน ๙ รายวิชา

ทั้งนี้ ทางหลักสูตรอาจให้ศึกษารายวิชาหรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ เพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต

แต่ต้องมีผลสัมฤทธิ์     ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดตามโครงสร้างหลักสูตร

 ๒.หลักสูตรแบบ ๒.๑ เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยนิสิตจะต้องทำวิทยานิพนธ์

ที่มีคุณภาพสูง และก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ

ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต

และศึกษารายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต โดยทั้งนี้ทางหลักสูตร อาจให้ศึกษารายวิชาหรือ

ทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ เพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต แต่ต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด


วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๑.  เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจภาษาศาสตร์ และสามารถวิเคราะห์ภาษาและสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ด้านภาษาได้

๒. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความสามารถในการนำความรู้ทางภาษาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร  และเผยแผ่พระพุทธศาสนา

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๓. พื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีศรัทธา อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาการศึกษา  และการบริการสังคม


คุณสมบัติของผู้สมัคร

๑.  ผู้สมัครต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย หรือ

สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

และต้องมีคุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

๒.  ผู้สมัครต้องได้รับค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโท

ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม

ยกเว้นผู้มีประสบการณ์ทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี

นับแต่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท

หรือมีผลงานทางวิชาการที่คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และ

๓.  ผู้สมัครต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย


ประมาณการค่าใช้จ่ายในหลักสูตร

แบบ ๑.๑ 
-พระภิกษุ  ๒๕๐,๐๐๐  บาท
-คฤหัสถ์  ๒๘๐,๐๐๐ บาท
แบบ ๒.๑
-พระภิกษุ  ๒๕๐,๐๐๐ บาท
-คฤหัสถ์    ๒๘๐,๐๐๐ บาท


เอกสารหลักฐานการสมัคร

๑.ใบสมัครตามแบบของหลักสูตรฯ
๒.ค่าธรรมเนียมการสมัครคัดเลือก ๑,๐๐๐ บาท
๓.สำเนาปริญญาบัตรระดับปริญญาตรี และปริญญาโท อย่างละ ๑ ฉบับ
๔.สำเนา Transcript ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท อย่างละ ๑ ฉบับ
๕.สำเนาทะเบียนบ้าน จำนวน ๑ ฉบับ
๖.สำเนาใบสุทธิ หรือบัตรประชาชน จำนวน ๑ ฉบับ
๗.รูปถ่ายขนาด ๑ นิ้ว จำนวน ๓ รูป (ถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน)
๘.หนังสือรับรองคุณสมบัติของผู้สมัคร จำนวน ๓ ฉบับ
๙.หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล (กรณีชื่อ–สกุล ไม่ตรงกับหลักฐานการสมัคร)
๑๐.กรณีผู้สมัครมีแต้มเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า ๓.๕ แต่ต้องไม่น้อยกว่า ๓.๒ จากระบบ ๔ แต้มหรือเทียบเท่า
ต้องส่งหนังสือรับรองประสบการณ์ทำงาน เพื่อให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาในวันที่สมัครด้วย
๑๑.ผู้สมัครเรียนจะต้องเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ที่มีรายละเอียดครอบคลุมประเด็นต่าง ดังนี้
๑) หัวข้อวิทยานิพนธ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
๒) รายชื่อคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
๓) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
๔) วัตถุประสงค์ของการวิจัย
๕) ขอบเขตการวิจัย
๖) ปัญหาที่ต้องการทราบ(ถ้ามี)
๗) สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี)
๘) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
๙) ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
๑๐) วิธีดำเนินการวิจัย
๑๑) กรอบแนวคิดในการวิจัย
๑๒) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑๓) โครงสร้างของวิทยานิพนธ์ (สารบัญชั่วคราว)
๑๔) บรรณานุกรมและเชิงอรรถ
๑๕) ประวัติผู้วิจัย


การติดต่อเพื่อสมัครเข้าศึกษา

๑.มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อาคารเรียนวัดศรีสุดาราม  (ห้อง ๑๒๔) แขวงบางขุนนนท์  เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐
๒.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะมนุษยศาสตร์ (ห้องภาควิชาภาษาต่างประเทศ) ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐
๓.เว็บไซต์ :www.foreignlang.mcu.ac.th

สอบถาม โทร.  089-965-4111,  081-308-4328, 085-6671241[:TH]หลักสูตร ป.เอก สาขาภาษาศาสตร์  (พธ.ด.(ภาษาศาสตร์)
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เปิดรับสมัครนิสิตใหม่ ตั้งแต่วันนี้  ถึง ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ มีรายละเอียด ดังนี้

กำหนดการรับสมัคร

เปิดรับสมัคร     ตั้งแต่นี้  ถึง  ๒๒ ก.ค. ๒๕๕๙

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ   ๒๔ ก.ค. ๒๕๕๙

สอบข้อเขียน/สัมภาษณ์              ๓๐ ก.ค. ๒๕๕๙

ประกาศผลสอบ                         ๓๑ ก.ค. ๒๕๕๙

ปฐมนิเทศ / ลงทะเบียน                ๖ ส.ค. ๒๕๕๙

เปิดเรียน                                    ๗ ส.ค. ๒๕๕๙


รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรแบ่งเป็น ๒ แบบ คือ

๑.หลักสูตรแบบ ๑.๑ เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย

โดยนิสิตจะต้องทำวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ จำนวน ๕๔ หน่วยกิต

และศึกษาวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต จำนวน ๙ รายวิชา

ทั้งนี้ ทางหลักสูตรอาจให้ศึกษารายวิชาหรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ เพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต

แต่ต้องมีผลสัมฤทธิ์     ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดตามโครงสร้างหลักสูตร

 ๒.หลักสูตรแบบ ๒.๑ เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยนิสิตจะต้องทำวิทยานิพนธ์

ที่มีคุณภาพสูง และก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ

ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต

และศึกษารายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต โดยทั้งนี้ทางหลักสูตร อาจให้ศึกษารายวิชาหรือ

ทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ เพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต แต่ต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด


วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๑.  เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจภาษาศาสตร์ และสามารถวิเคราะห์ภาษาและสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ด้านภาษาได้

๒. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความสามารถในการนำความรู้ทางภาษาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร  และเผยแผ่พระพุทธศาสนา

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๓. พื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีศรัทธา อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาการศึกษา  และการบริการสังคม


คุณสมบัติของผู้สมัคร

๑.  ผู้สมัครต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย หรือ

สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

และต้องมีคุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

๒.  ผู้สมัครต้องได้รับค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโท

ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม

ยกเว้นผู้มีประสบการณ์ทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี

นับแต่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท

หรือมีผลงานทางวิชาการที่คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และ

๓.  ผู้สมัครต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย


ประมาณการค่าใช้จ่ายในหลักสูตร

แบบ ๑.๑ 
-พระภิกษุ  ๒๕๐,๐๐๐  บาท
-คฤหัสถ์  ๒๘๐,๐๐๐ บาท
แบบ ๒.๑
-พระภิกษุ  ๒๕๐,๐๐๐ บาท
-คฤหัสถ์    ๒๘๐,๐๐๐ บาท


เอกสารหลักฐานการสมัคร

๑.ใบสมัครตามแบบของหลักสูตรฯ
๒.ค่าธรรมเนียมการสมัครคัดเลือก ๑,๐๐๐ บาท
๓.สำเนาปริญญาบัตรระดับปริญญาตรี และปริญญาโท อย่างละ ๑ ฉบับ
๔.สำเนา Transcript ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท อย่างละ ๑ ฉบับ
๕.สำเนาทะเบียนบ้าน จำนวน ๑ ฉบับ
๖.สำเนาใบสุทธิ หรือบัตรประชาชน จำนวน ๑ ฉบับ
๗.รูปถ่ายขนาด ๑ นิ้ว จำนวน ๓ รูป (ถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน)
๘.หนังสือรับรองคุณสมบัติของผู้สมัคร จำนวน ๓ ฉบับ
๙.หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล (กรณีชื่อ–สกุล ไม่ตรงกับหลักฐานการสมัคร)
๑๐.กรณีผู้สมัครมีแต้มเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า ๓.๕ แต่ต้องไม่น้อยกว่า ๓.๒ จากระบบ ๔ แต้มหรือเทียบเท่า
ต้องส่งหนังสือรับรองประสบการณ์ทำงาน เพื่อให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาในวันที่สมัครด้วย
๑๑.ผู้สมัครเรียนจะต้องเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ที่มีรายละเอียดครอบคลุมประเด็นต่าง ดังนี้
๑) หัวข้อวิทยานิพนธ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
๒) รายชื่อคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
๓) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
๔) วัตถุประสงค์ของการวิจัย
๕) ขอบเขตการวิจัย
๖) ปัญหาที่ต้องการทราบ(ถ้ามี)
๗) สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี)
๘) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
๙) ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
๑๐) วิธีดำเนินการวิจัย
๑๑) กรอบแนวคิดในการวิจัย
๑๒) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑๓) โครงสร้างของวิทยานิพนธ์ (สารบัญชั่วคราว)
๑๔) บรรณานุกรมและเชิงอรรถ
๑๕) ประวัติผู้วิจัย


การติดต่อเพื่อสมัครเข้าศึกษา

๑.มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อาคารเรียนวัดศรีสุดาราม  (ห้อง ๑๒๔) แขวงบางขุนนนท์  เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐
๒.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะมนุษยศาสตร์ (ห้องภาควิชาภาษาต่างประเทศ) ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐
๓.เว็บไซต์ :www.foreignlang.mcu.ac.th
สอบถาม โทร.  089-965-4111,  081-308-4328, 085-6671241

 [:]